” เราจะพัฒนาหลักสูตรและการให้บริการฝึกอบรม ให้สามารถปรับได้ในหลากหลายรูปแบบตามความต้องการของลูกค้า ด้วยแนวคิดการบูรณาการสื่อ และการออกแบบหลักสูตรที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ”
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน (Thai version) , (English version), (Japanese version)
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (Thai version) , (English version), (Japanese version)
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค (Thai version) , (English version) , (Japanese version)
- คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ (Thai version) , (English version) , (Japanese version)
- ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับลูกจ้างทั่วไป ลูกจ้างเข้าทำงานใหม่
- ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
- ความปลอดภัยในงานซ่อมบำรุง
- ความปลอดภัยในการทำงานกับไฟฟ้า
- ความปลอดภัยในการทำงานกับรังสีเอกซ์
- ความปลอดภัยในการทำงานกับลิฟต์ขนส่งภายในโรงงาน
- ความปลอดภัยในการทำงานกับเครื่องจักร
- การรับเหตุฉุกเฉิน กรณีรังสีรั่วไหล
- การรับเหตุฉุกเฉิน กรณีหม้อน้ำระเบิด
- การขับขี่โฟล์คลิฟท์อย่างปลอดภัย และถูกวิธี
- คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
- การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต ตามข้อบังคับคณะกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
- ผู้ตรวจประเมินภายใน การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต ตามข้อบังคับคณะกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559
- การจัดทำข้อบังคับและคู่มือความปลอดภัยในการทำงานตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2549
- รวมเทคนิคการประเมินความเสี่ยงทุกวิธี และหลักเกณฑ์การเลือกวิธีการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม
- เทคนิคชี้บ่งอันตราย HAZOP เทคนิคจำเป็นที่ไม่ใช่เฉพาะโรงงานปิโตรเคมี
- การประเมินความเสี่ยง
- การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ และการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง
- การกำจัดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อความปลอดภัย
- กฎหมายใหม่เพื่อการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานและการเตรียมการที่จำเป็น
- กฎหมายสิ่งแวดล้อมกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงงาน
- สรุปประเด็นกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่โรงงานต้องปฏิบัติตาม สำหรับ “ผู้บริหาร”
- กฎหมายการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตราย
- กฎหมายการจัดการของเสีย
- การขับรถยกอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และการบำรุงรักษา
- การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ
- การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ (Defensive Driving) ประเภทรถหัวลาก
- การขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ สำหรับรถจักรยานยนต์
- จิตสำนึกเพื่อความปลอดภัย
- จิตสำนึกเพื่อสิ่งแวดล้อม
- จิตสำนึกเพื่อความปลอดภัยสำหรับหัวหน้างาน
- ระบบการอนุญาตให้ปฏิบัติงาน (Work Permit System)
- การจัดการระบบ Lockout & Tag-out ให้ใช้งานได้จริง
- เทคนิคการตรวจสอบสภาพอาคารและการตรวจสอบในโรงงานอุตสาหกรรม
- การตรวจสอบความปลอดภัย
- เทคนิคการบริหารความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
- การบริหารความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงภัยและการสูญเสีย
- มาตรการความปลอดภัยระบบทำความเย็นที่ใช้แอมโมเนีย
- แนวทางการติดตั้งระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่มีไอระเหยของสารไวไฟ
- มาตรการป้องกันอันตรายจากฝุ่นระเบิด และร่างกฎหมาย
- เทคนิคการควบคุมการทำงานเชื่อมและตัดโลหะอย่างปลอดภัย
- เทคนิคบริหารงานผู้รับเหมาเพื่อทำงานให้เราอย่างปลอดภัย
- ความรู้ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
- มาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE)และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุ ที่เป็นสาเหตุของอุบัติเหตุอันแท้จริง
- เทคนิคการควบคุมอุบัติเหตุให้เป็นศูนย์ ( 7 STEPS TO ZERO ACCIDENT )
- อุบัติเหตุเป็นศูนย์ด้วยวิธี KYT
- การจัดการเหตุการณ์เฉียด” (Near Miss Management : CCCF)
- การยศาสตร์เพื่อการเพิ่มผลผลิต
- การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ การทำงานด้วยวิธีการ RULA
- การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ การทำงานด้วยวิธีการ ROSA, OWRS, REBA และ OCRA
- โรคจากการทำงานที่โรงงานควรทราบ
- หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ (ตามกฎหมาย)
- แนวทางการควบคุมและแก้ไขปัญหาสภาพความร้อนในพื้นที่ทำงาน
- การปฐมพยาบาล (First Aid)
- วิธีปฏิบัติ และการปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า
- รวมเทคนิคการปฐมพยาบาลอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทำงาน
- Safety Talk
- เทคนิคการสื่อสารด้านความปลอดภัย อย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการเป็นวิทยากรฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
- หัวหน้างานกับความปลอดภัย
- 5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
- 3 ป เพื่อความปลอดภัย
- จิตวิทยาในการพัฒนาการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
- .ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม และกิจกรรม Walk Rally
- การสร้างความรักและความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร
- พนักงานดีเด่นขององค์กร
- การสร้างทีมงานและจิตสำนึกการทำงานร่วมกัน กิจกรรม 5 ส กับการสร้างทีมงาน
- การบริหารจัดการรถรับ-ส่งพนักงาน อย่างปลอดภัยและรักษาสิทธิของผู้ว่าจ้าง
- การจัดการห้องพยาบาลในสถานประกอบการ ให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนด
- ข้อกำหนด EICC และแนวทางการตรวจประเมินตนเอง” (ELECTRONIC INDUSTRY CODE OF CONDUCT)
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 9001
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 14001
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 45001
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐาน และข้อกำหนด ISO 45001
- การจัดทำมาตรฐานเพื่อความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR) : ISO 26000
- การตรวจประเมินภายใน ISO 9001
- การตรวจประเมินภายใน ISO 14001
- การตรวจประเมินภายใน ISO 45001
- การตรวจประเมินภายใน ISO 45001″
- การจัดทำและควบคุมเอกสารระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008
- การตรวจประเมินภายใน รวมระบบ ISO 9001:2000, ISO 14001 และ ISO 45001
- การนำเทคนิค KPI ไปใช้ในระบบบริหารคุณภาพ
- จิตสำนึกคุณภาพ
- การสร้างระบบ KPI ในระบบ ISO 14001 และ ISO 45001
- การนำ SA8000 และมาตรฐานแรงงานไทย มาประยุกต์ใช้
- การจัดทำแผนฉุกเฉินและแผนป้องกันระงับอัคคีภัยตามกฎหมายและระบบบริหาร ISO 14001 และ ISO 45001
- เทคนิคและวิธีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ในระบบ ISO 9001:2008/ISO 14001 และ ISO 45001
- ผู้บังคับปั้นจั่น
- ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ
- ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น
- ทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
- ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น (4ผู้) สำหรับปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่
- ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ และผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น (4ผู้) สำหรับปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
- เทคนิคการเป็นวิทยากรปั้นจั่น ชนิดปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสูงและปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ชนิดอื่น
- ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (สำหรับผู้ปฏิบัติงานในงานก่อสร้าง)
- ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (สำหรับงานอุตสาหกรรมทั่วไป)
- ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (สำหรับงานติดตั้งและงานซ่อมบำรุงเสาโทรคมนาคม)
- การทำงานบนที่สูงด้วยระบบเชือก : ขั้นพื้นฐาน : Rope Access Level 1
- การทำงานที่บนสูงด้วยระบบเชือก : Rope Work & Access Technic Advance Level ll
- เทคนิคการติดตั้งนั่งร้านและการตรวจสอบนั่งร้านแบบท่อและข้อต่อและแบบโครงสร้างสำเร็จ
- ความปลอดภัยในการทำงานกับนั่งร้าน :ขั้นพื้นฐาน
- ความปลอดภัยในการทำงานกับนั่งร้าตามมาตรฐาน British Standard
- เทคนิคการบริหารงานความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับนั่งร้าน (สำหรับงานก่อสร้าง)
- ดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire in house )
- ดับเพลิงขั้นต้น (Basic Fire ) อบรม ณ ศูนย์ฝึกฯ
- การฝึกซ้อมดับเพลิง และการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (Fire Drill & Evacuation in house 100 %)
- การดับเพลิงขั้นพื้นฐาน สำหรับนักผจญเพลิงในอาคาร
- การฝึกซ้อมทีมผจญเพลิงในสถานประกอบการ (Technique Fire Fighting in house )
- การดับเพลิงขั้นสูง สำหรับทีมผจญเพลิงในอาคาร (Advance Fire Fighting)
- บริหารทีมฉุกเฉินและการวางแผนการดับเพลิงและการค้นหาผู้ประสบภัย
- ดับเพลิงขั้นสูง สำหรับการควบคุมก๊าซรั่วและของเหลวไวไฟ Oil -GAS FIRE CONTROL ; oil & LPG)
- เทคนิคการระบายควัน ก๊าซพิษ และการดำควัน (Positive Pressure Attack; PPA)
- ทบทวนเพิ่มความรู้ พฤติกรรมไฟในอาคารและการค้นหาผู้ประสบภัยในอาคาร
- เทคนิคการค้นหาและกู้ภัย ในอาคารสูง(High Rise Search & Rescue)
- การบริหาร ระบบบัญชาการฉุกเฉิน ณ.จุเกิดเหตุ (ระบบ ICS)
- การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ
- การเฝ้าระวังไฟ (Fire Watch Man)
- หลักการจัดทำแผนและป้องกันระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการตามกฎกระทรวง
- การจัดทำแผนฉุกเฉินและการซ้อมแผนฉุกเฉิน
- การป้องกันและระงับอัคคีภัย
- ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
- การรับเหตุฉุกเฉินกรณีสารเคมีหกล้น รั่วไหล
- กฎหมายการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตราย
- กฎหมายการจัดการของเสีย
- มาตรการความปลอดภัยระบบทำความเย็นที่ใช้แอมโมเนีย
- แนวทางการติดตั้งระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่มีไอระเหยของสารไวไฟ
- การจัดทำข้อมูลความปลอดภัยทางด้านสารเคมี MSDS
- ติวเข้ม… เพื่อเป็น “บุคลากรเฉพาะ รับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย”
- เทคนิคการจัดทำ SDS (Safety Data Sheet) ตามระบบ GHS
- ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย (GHS)
- ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีอันตราย
- แนวทางการตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีในการทำงาน
- ระเบียบข้อจำกัดการใช้สารอันตราย ภายใต้ระบบ REACH and VOCS
- การขนส่งวัตถุอันตรายอย่างปลอดภัย (Transportation of Dangerous Goods)
- แนวทางการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านสารเคมี และกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ (มอก. 2547-2555)